วันเสาร์ที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ฉนวนป้องกันความร้อน พี.ยู.โฟม ฉนวนป้องกันเสียง เซลลูโลส
การแก้ปัญหาความร้อน ที่เกิดขึ้นจากการถ่ายเทความร้อน(Heat Transfer) จากหลังคา ผนัง เข้าสู่ตัวอาคาร โดยการนำ (Conduction) การพา (Convection) และการแผ่รังสีความร้อน (Radiation) ที่เกิดขึ้นพร้อนๆกัน เป็นเหตุให้สูญเสียพลังงานโดยเปล่าประโยชน์ ฉนวนสะท้อนรังสีความร้อน (Reflective Insulation) เป็นวัสดุที่ดีที่สุดสำหรับหลังคาบ้านและโรงงานอุสาหกรรมที่ต้องการลดอุณหภูมิ สำคัญคือการประหยัดพลังงาน และ ถูกออกแบบให้ใช้ภายนอกอาคาร(Exterior insulation) ป้องกันความร้อน การรั่วซึมของน้ำฝนก่อนเข้าถึงผิวนอกของอาคาร มีคุณสมบัติการนำความร้อนที่เลว การเป็นสูญญากาศในอนุภาคเซรามิคนี้ไปรวมกับอครีลิคและส่วนประกอปอี่นๆอย่างเหมาะสม นำมาเคลือบหลังคาหรือผนังอาคาร แทนการทาสีภายนอกของอาคาร ที่อยู่อาศัยทั่วไป มีขนาดประมาณ 7-10 ไมครอน ลักษณะเป็นทรงกลมภายในกลวงเป็น สูญญากาศจะตกผลึกคล้ายลูกแก้วสะท้อนแสงเรียงกันเป็นระเบียบ เป็นฟิล์มติดแน่นเป็นเกราะป้องกันความร้อน ไม่ติดไฟป้องกันความเสียหายจากรังสี UV พ่นโฟมกันความร้อน
วันศุกร์ที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
วันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
พบปัญหาอุณหภูมิไม่คงที่ของ โรงเพาะเห็ดนางฟ้า
ใช้ฉนวนกันความร้อนประยุกต์ใช้ในการทำโรงเรือนเพาะเห็ดนางฟ้า
พ่นโฟมกันความร้อน
1. สภาพอากาศที่เหมาะสมในการเพาะเห็ดฟาง เห็ดฟางชอบอากาศร้อน อุณหภูมิ 35-37 องศาเซลเซียส ขึ้นได้ดี
ทั้งในฤดูฝนและในฤดูร้อน เพราะอากาศร้อนจะช่วยเร่งการเจริญเติบโตของดอกเห็ดได้ดีอยู่แล้ว ส่วนในช่วงอากาศหนาวไม่ค่อยจะดีนัก เพราะอากาศที่เย็นเกินไปไม่เอื้ออำนวยต่อการเติบโตของดอกเห็ดฟาง สำหรับทางภาคใต้ก็สามารถจะเพาะเห็ดฟางได้ตลอดทั้งปี ถ้ามีฝนตกไม่มากเกินไปนัก จึงเห็นได้ว่า การเพาะเห็ดฟางของประเทศไทยเราสามารถเพาะได้ตลอดปี แต่หน้าหนาวผลผลิตจะลดน้อยลงเนื่องจากอุณหภูมิต่ำ จึงทำให้ราคาสูง หลังฤดูเกี่ยวข้าวอากาศร้อน ฟางและแรงงานมีมากมีคนเพาะมาก จึงเป็นธรรมดาที่เห็ดจะมีราคาต่ำลง ในฤดูฝนชาวนาส่วนมากทำนา การเพาะเห็ดน้อยลง ราคาเห็ดฟางนั้นก็จะดีขึ้น
2. เรื่องความชื้น ความชื้นเป็นส่วนสำคัญในการเพาะเห็ดฟางมากเป็นตัวกำหนดการเจริญของเส้นใยเห็ดที่สำคัญ
ถ้าความชื้นมีน้อยเกินไปเส้นใยของเห็ดจะเดินช้า และรวมตัวเป็นดอกไม่ได้ ถ้าความชื้นมากเกินไปการระบายอากาศภายในกองไม่ดี ถ้าเส้นใยขาดออกซิเจนก็จะทำให้เส้นใยฝ่อหรือเน่าตายไป น้ำที่จะแช่หรือทำให้ฟางชุ่มควรต้องเป็นน้ำสะอาด ไม่มีเกลือเจือปนหรือเค็ม หรือเป็นน้ำเน่าเสียที่หมักอยู่ในบ่อนาน ๆ จนมีกลิ่นเหม็น ก็ไม่ควรจะนำมาใช้ในการเพาะเห็ดฟางที่ดีนั้น น้ำที่ใช้ในการงอกเส้นใยเห็ดจะมาจากในฟางที่อุ้มเอาไว้และความชื้นจากพื้นแปลงเพาะนั้นก็เพียงพอแล้ว ปกติขณะที่เพาะไว้เป็นกองเรียบร้อยแล้วนั้นจึงไม่ควรจะมีการให้น้ำอีก ควรจะรดเพียงครั้งเดียวคือระหว่างการหมักฟางเพาะทำกองเท่านั้น หรืออาจจะช่วยบ้างเฉพาะในกรณีที่ความชื้นมีน้อยหรือแห้งจนเกินไป การให้ความชื้นนี้โดยการโปรยน้ำจากฝักบัวรอบบริเวณข้าง ๆ แปลงเพาะเท่านั้นก็พอ
พ่นโฟมกันความร้อน
1. สภาพอากาศที่เหมาะสมในการเพาะเห็ดฟาง เห็ดฟางชอบอากาศร้อน อุณหภูมิ 35-37 องศาเซลเซียส ขึ้นได้ดี
ทั้งในฤดูฝนและในฤดูร้อน เพราะอากาศร้อนจะช่วยเร่งการเจริญเติบโตของดอกเห็ดได้ดีอยู่แล้ว ส่วนในช่วงอากาศหนาวไม่ค่อยจะดีนัก เพราะอากาศที่เย็นเกินไปไม่เอื้ออำนวยต่อการเติบโตของดอกเห็ดฟาง สำหรับทางภาคใต้ก็สามารถจะเพาะเห็ดฟางได้ตลอดทั้งปี ถ้ามีฝนตกไม่มากเกินไปนัก จึงเห็นได้ว่า การเพาะเห็ดฟางของประเทศไทยเราสามารถเพาะได้ตลอดปี แต่หน้าหนาวผลผลิตจะลดน้อยลงเนื่องจากอุณหภูมิต่ำ จึงทำให้ราคาสูง หลังฤดูเกี่ยวข้าวอากาศร้อน ฟางและแรงงานมีมากมีคนเพาะมาก จึงเป็นธรรมดาที่เห็ดจะมีราคาต่ำลง ในฤดูฝนชาวนาส่วนมากทำนา การเพาะเห็ดน้อยลง ราคาเห็ดฟางนั้นก็จะดีขึ้น
2. เรื่องความชื้น ความชื้นเป็นส่วนสำคัญในการเพาะเห็ดฟางมากเป็นตัวกำหนดการเจริญของเส้นใยเห็ดที่สำคัญ
ถ้าความชื้นมีน้อยเกินไปเส้นใยของเห็ดจะเดินช้า และรวมตัวเป็นดอกไม่ได้ ถ้าความชื้นมากเกินไปการระบายอากาศภายในกองไม่ดี ถ้าเส้นใยขาดออกซิเจนก็จะทำให้เส้นใยฝ่อหรือเน่าตายไป น้ำที่จะแช่หรือทำให้ฟางชุ่มควรต้องเป็นน้ำสะอาด ไม่มีเกลือเจือปนหรือเค็ม หรือเป็นน้ำเน่าเสียที่หมักอยู่ในบ่อนาน ๆ จนมีกลิ่นเหม็น ก็ไม่ควรจะนำมาใช้ในการเพาะเห็ดฟางที่ดีนั้น น้ำที่ใช้ในการงอกเส้นใยเห็ดจะมาจากในฟางที่อุ้มเอาไว้และความชื้นจากพื้นแปลงเพาะนั้นก็เพียงพอแล้ว ปกติขณะที่เพาะไว้เป็นกองเรียบร้อยแล้วนั้นจึงไม่ควรจะมีการให้น้ำอีก ควรจะรดเพียงครั้งเดียวคือระหว่างการหมักฟางเพาะทำกองเท่านั้น หรืออาจจะช่วยบ้างเฉพาะในกรณีที่ความชื้นมีน้อยหรือแห้งจนเกินไป การให้ความชื้นนี้โดยการโปรยน้ำจากฝักบัวรอบบริเวณข้าง ๆ แปลงเพาะเท่านั้นก็พอ
วันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ก่อนที่คุณจะติดตั้งฉนวนกันความร้อน คุณทราบดีหรือยังว่า ฉนวนกันความร้อนคืออะไร แล้วมีกี่ชนิด แต่ละชนิดมีคุณสมบัติอย่างไร หรือเหมาะสมกับการใช้งานชนิดไหน ...
เราคือผู้นำด้าน ฉนวนกันความร้อน รับพ่นฉนวนกันความร้อนโพรียูริเทนโฟม ... การแผ่รังสีความร้อน(Radiation) การเลือกใช้ฉนวนป้องกันความร้อนให้ถูกต้อง ...การติดตั้งฉนวนกันความร้อนหรือติดตั้งฉนวนป้องกันความร้อนบนหลังคาก่อนความร้อนจะ
วันศุกร์ที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
ความรู้ทั่วไปของ PU FOAM
P.U.FOAM (Polyurethane Foam)
โพลียูรีเทนโฟม (พ่นโฟมกันความร้อน) เป็นสาร HCFC-141b พ่นให้เป็นโฟม โดยมีทั้งหล่อเป็นแบบแข็งแบบ ฉีดขึ้นรูป หรือพ่นบนพื้นผิวเป็นโฟมแข็ง (Rigid Foam) มีความแข็งแรง มีสภาพการนำความร้อน(K) ต่ำของโฟมชนิดนี้ต่ำมาก เนื่องจากภายในเป็นสาร HCFC-141b ซึ่งมีสภาพการนำความร้อนที่ต่ำกว่าอากาศในการผลิตฉนวนป้องกันความร้อนเพื่อการใช้งาน โดยมากต้องมีการหุ้มด้วยวัสดุที่หน่วงการไหม้ไฟ แต่พียูโฟมจะผสมสารไม่ลามไฟในตัวของมันเองโฟม โพลียูรีเทน เป็นฉนวนประเภทเชลล์ปิด(Close Cell) จึงสามารถป้องกันความชื้นในห้องเย็นหรือหลังคารั่วได้ดีกว่า
โพลียูรีเทนโฟม (พ่นโฟมกันความร้อน) เป็นสาร HCFC-141b พ่นให้เป็นโฟม โดยมีทั้งหล่อเป็นแบบแข็งแบบ ฉีดขึ้นรูป หรือพ่นบนพื้นผิวเป็นโฟมแข็ง (Rigid Foam) มีความแข็งแรง มีสภาพการนำความร้อน(K) ต่ำของโฟมชนิดนี้ต่ำมาก เนื่องจากภายในเป็นสาร HCFC-141b ซึ่งมีสภาพการนำความร้อนที่ต่ำกว่าอากาศในการผลิตฉนวนป้องกันความร้อนเพื่อการใช้งาน โดยมากต้องมีการหุ้มด้วยวัสดุที่หน่วงการไหม้ไฟ แต่พียูโฟมจะผสมสารไม่ลามไฟในตัวของมันเองโฟม โพลียูรีเทน เป็นฉนวนประเภทเชลล์ปิด(Close Cell) จึงสามารถป้องกันความชื้นในห้องเย็นหรือหลังคารั่วได้ดีกว่า
ฉนวนกันความร้อน
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEj8wL0Ahjbbt8Vf-MWywCVEqtBecXcSJm1KquTc9Mgepx-RCahT8iycwcHFarq5EiKDZUekgzQM2V1y8QHLcCPToDEY6e9oxWL638usKDSxtYz1DmbSnlr1pg7Or6YoLuUVOWYE756qdg8/s400/logo.gif)
เราเป็นบริษัทจำหน่ายติดตั้งฉนวนกันความร้อน และสะท้อนร้งสีความร้อน ลดอุณหภูมิ เพื่อประหยัดพลังงาน ทั้งในระบบความเย็น-ร้อน ในโรงงานอุตสาหกรรม โรงแรม สถาบันการศึกษา สนามกีฬาห้างสรรพสินค้า โรงภาพยนต์ สถานบันเทิงต่างๆ อาคารสำนักงาน บ้านที่อยู่อาศัย เรือประมง ทุ่น ท่อหุ้ม โฟมแผ่นสำหรับห้องเย็นฯลฯ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)